ภาษา : ไทย
  

  ติดต่อเรา

QR Code

  ข่าวสาร บาร์โค้ด














































































































  ออนไลน์
ผู้ใช้งานขณะนี้ :
 
 บุคคลทั่วไป  5 ราย

การ ขอบาร์โค้ด GTIN-13 (เป็น รหัสแท่ง ที่ใช้ติดบนสินค้าสำหรับขายปลีกทั่วไป)


เกี่ยวกับ บาร์โค้ด

รหัสแท่งรหัสแท่งไทยfont barcode

 

บาร์โค้ด คือ สัญลักษณ์ รหัสแท่ง ที่ใช้แทนข้อมูลตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งจำเป็นที่จะต้องมีการ ขอบาร์โค้ด อย่างเป็นทางการ จาก สถาบันรหัสแท่งไทย  โดย บาโคต ประกอบด้วยแท่ง บาโคต สีเข้มและช่องว่างสีอ่อนเรียงสลับกัน สัญลักษณ์ที่อยู่ในรูปของแท่งบาร์มีไว้ให้ เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Scanner) สามารถอ่านเพื่อรับ และส่งข้อมูลได้อย่างอัตโนมัติ ซื่งเมื่อบริษัทต้องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความเป็นเลิศทางการค้า ก็จำเป็นที่จะต้องทำการ ขอรหัสบาร์โค้ด จาก สถาบันรหัสแท่งไทย

 

เลขหมายประจำตัวสินค้า (Global Trade Item Number: GTIN)

การระบุตัวตนของสินค้า (Identification of Trade Items) อาศัย รหัสแท่งไทย หรือ เลขหมายประจำตัวสินค้าสากล (GTIN : Global Trade Item Number) โดยที่จะต้องใช้คู่กับ เครื่องอ่านรหัสแท่ง หรือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด โดยเลขหมายดังกล่าวจำเป็นที่จะต้องมีการ ขอบาร์โค้ด อย่างเป็นทางการ โดย บาโคต นั้นจะใช้บ่งชี้เฉพาะรายการสินค้า ที่ใช้ในการทำธุรกรรมธุรกิจทั่วโลก ซึ่งหมายถึงรายการใดๆ ก็ตามไม่ว่าจะเป็นตัวสินค้าหรือบริการ ถ้าเรามีการ ขอรหัสบาร์โค้ด ที่เป็นทางการเราก็สามารถใช้ในการอ้างอิงเพื่อจัดเก็บและค้นหาข้อมูลในระบบฐานข้อมูลระหว่างคู่ค้า อาทิเช่น ชนิดสินค้า, การกำหนดราคา, การสั่งซื้อ, หรือการจัดส่งสินค้า เป็นต้น โดยเลขหมาย ที่มีการ ขอรหัสบาร์โค้ด ประจำตัวสินค้าจะประกอบด้วย รหัสประเทศ, เลขหมายประจำตัวสมาชิกหรือรหัสประจำตัวบริษัท, รหัสประจำตัวสินค้าที่ผู้ใช้งานเป็นผู้กำหนดเอง และตัวเลขตรวจสอบที่ได้จากการคำนวณ ส่วนที่ไม่มีการ ขอรหัสบาร์โค้ด จะไม่สามารถใช้ในทางสากลได้  สามารถ ขอรหัสบาร์โค้ด หรือ font barcode ได้ที่ สถาบันรหัสแท่งไทย หรือ ตามขั้นตอนด้านล่างนี้

สมัครสมาชิก GTIN-13

ขั้นตอนการสมัครสมาชิก

1. เตรียมเอกสารในการขอสมัครสมาชิกให้ครบถ้วน

2. ยื่นเอกสารการสมัครสมาชิก และชำระค่าสมาชิก โดยใบสมัครจะต้องใช้ใบสมัครตัวจริงเท่านั้น ซึ่งท่านสามารถขอรับใบสมัคร ได้ที่สถาบันฯ หรือสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ต้องการใบสมัครทางไปรษณีย์ คลิก gs1thailand.org/main/gs1standardsystem.php

3. ระยะเวลาในการดำเนินการ 7 วันทำการ หลังจากยื่นเอกสาร และ ชำระเงินเรียบร้อยแล้ว โดยทางสถาบันฯ จะทำการจัดส่งหนังสืออนุมัติเลขหมายไปยังท่านทางไปรษณีย์

 

ผู้ที่ควรสมัครเป็นสมาชิกสถาบันรหัสสากล(การ ขอรหัสบาร์โค้ด)

1. ผู้ผลิตสินค้าที่ต้องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความเป็นเลิศทางการค้า

2. ผู้ค้าส่ง ผู้จัดจำหน่าย ผู้ค้าปลีก ที่ต้องการนำบาร์โค้ดระบบมาตรฐาน GS1 มาประยุกต์ใช้ในการบริการงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

3. ผู้ส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ เพื่อเปิดช่องทางในการจำหน่ายสินค้า

 

 

สิทธิประโยชน์ในการสมัครสมาชิกบาร์โค้ดมาตรฐานสากล GS1

1. ได้รับการอนุมัติเลขหมายประจำตัวบริษัท โดยสมาชิกจะเป็นผู้กำหนดเลขหมายประจำตัวสินค้าให้กับสินค้าแต่ละชนิด

2. คู่มือการใช้ บาร์โค้ด พร้อมตัวอย่างการใช้สีและขนาดที่ถูกต้องของ บาร์โค้ด จำนวน 1 ชุด

3. การอบรมหัวข้อ “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบาร์โค้ดและอีดีไอ” ของสถาบันฯ ซึ่งจัดเป็นประจำทุกวันอังคารที่ 2, 4 ของเดือน

4. การอบรมบาร์โค้ดมาตรฐาน GS1-128 (กำหนดการอบรมทุกวันพุธที่ 4 ของเดือน)

5. เข้าร่วมอบรมสัมมนาในหัวข้อต่างๆ ที่สถาบันฯ จัดขึ้น ในอัตราสมาชิก

6. เข้าร่วมงานประชุมใหญ่สามัญประจำปีของ สถาบันรหัสแท่งไทย

7. ใช้บริการศูนย์การตรวจสอบ บาร์โค้ด ปีละ 20 ใบรับรอง โดยไม่มีค่าใช้จ่าย

8. ใช้บริการขอหนังสือรับรองการเป็นสมาชิก สถาบันรหัสแท่งไทย

9. ร่วมออกบูธนิทรรศการในงานต่างๆที่สถาบันฯ จัดขึ้น ในอัตราสมาชิก

10. วารสาร GS1 Thailand ปีละ 4 ฉบับ

11. ขอรับคำปรึกษาเกี่ยวกับระบบมาตรฐาน GS1 จากผู้เชี่ยวชาญของสถาบันฯ

 

ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ gs1thailand.org/main/gs1standardsystem.php 

 

การ ขอบาร์โค้ด UPC

ระบบ UPC (Universal Product Code) คือ ระบบ บาโคต หรือ รหัสแท่ง ที่ใช้สำหรับสินค้าค้าปลีก มีเลขหมายจำนวน 12 หลัก โดยจะต้องใช้คู่กับ เครื่องอ่านรหัสแท่ง หรือ เครื่องยิงบาร์โค้ด  โดย บาร์โค้ด ที่ใช้นั้น จะต้องมีการ ขอบาร์โค้ด จากทาง สถาบันรหัสแท่งไทย ซึ่งใช้ในแถบอเมริกาเหนือ (ประเทศอเมริกา และแคนาดา) ซึ่งปัจจุบัน บาร์โค้ด ระบบมาตรฐานสากล สามารถใช้ระบบ GTIN-13 ได้แล้วในแถบประเทศดังกล่าว ส่วนที่ไม่มีการ ขอรหัสบาร์โค้ด จะไม่สามารถใช้ในทางสากลได้ แต่หากคู่ค้าของท่านยังมีความประสงค์ที่จะใช้บาร์โค้ดในระบบ UPC นั้น สามารถยื่น ขอบาร์โค้ด หรือ font barcode ได้ที่ สถาบันรหัสแท่งไทย หรือ ตามขั้นตอนด้านล่างนี้

 

ขั้นตอนการสมัครสมาชิก UPC

1. เตรียมเอกสารในการขอสมัครสมาชิกให้ครบถ้วน

2. ยื่นเอกสารการสมัครสมาชิก และชำระค่าสมาชิก โดยใบสมัครจะต้องใช้ใบสมัครตัวจริงเท่านั้น ซึ่งท่านสามารถขอรับใบสมัคร ได้ที่สถาบันฯ หรือสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ต้องการใบสมัครทางไปรษณีย์ คลิก gs1thailand.org/main/gs1standardsystem.php

3. ระยะเวลาในการดำเนินการ 7 วันทำการ หลังจากยื่นเอกสาร และชำระเงินเรียบร้อยแล้ว โดยทางสถาบันฯ

จะทำการจัดส่งหนังสืออนุมัติเลขหมายไปยังท่านทางไปรษณีย์

 

สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกระบบ UPC ได้รับ

1. การอบรมหัวข้อ “ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบาร์โค้ดและอีดีไอ ” ของสถาบันฯ ซึ่งจัดเป็นประจำวันอังคารที่ 2, 4 ของเดือน

2. การเข้าร่วมการอบรมสัมมนาที่สถาบันฯ จัดขึ้นในอัตราสมาชิก

3. ใช้บริการขอหนังสือรับรองการเป็นสมาชิกสถาบันฯ

4. ร่วมออกคูหานิทรรศการในงานต่าง ๆ ที่สถาบันฯจัดขึ้นในอัตราสมาชิก

5. ขอรับคำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้เลขหมายบาร์โค้ด ระบบ UPC จากผู้เชี่ยวชาญของสถาบันฯ

 

ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ gs1thailand.org/main/gs1standardsystem.php

 

 

การ ขอรหัสบาร์โค้ด DataBar : RSS (Reduced Space Symbology)

GS1 DataBar คือ บาโคต หรือ รหัสแท่ง อีกรูปแบบหนึ่งที่มีขนาดเล็ก และบันทึกข้อมูลได้มากกว่า บาร์โค้ด ในรูปแบบ EAN/UPC ซึ่งในอดีตมีชื่อเรียกว่า RSS (Reduced Space Symbology) โดย บาโคต GS1 DataBar นี้สามารถบรรจุข้อมูลที่สามารถทำการสืบย้อนกลับที่มาของสินค้าได้ โดยที่จะต้องมีการ ขอบาร์โค้ด อย่างเป็นทางการกับทาง สถาบันรหัสแท่งไทย ซึ่งถือว่าเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ส่งออกสามารถ    ขอรหัสบาร์โค้ด เพื่อที่จำหน่ายสินค้าไปยังประเทศที่ มีมาตรการด้านความปลอดภัยที่เข้มงวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบาร์โค้ด GS1 DataBar สามารถระบุการใช้งานร่วมกับหมายเลข Application Identifiers (AIs) เช่น ข้อมูลวันที่ผลิต, วันที่หมดอายุ, น้ำหนัก เป็นต้น ซึ่งถ้าไม่ได้มีการ ขอบาร์โค้ด บาร์โค้ดที่ได้จะไม่เป็นสากล แต่ถ้ามีการ ขอรหัสบาร์โค้ด กับทางสถาบันรหัสแท่งไทย บาร์โค้ดที่ได้มานั้นจะสามารถใช้บอกรายละเอียดของสินค้านั้นๆได้  ความสามารถดังกล่าวทำให้ GS1 DataBarเป็นบาร์โค้ดที่เหมาะสมกับการระบุสินค้าที่มีหน่วยการขายไม่คงที่ (Variable measure product) เช่น อาหารสด ผลไม้ หรืออาจใช้กับสินค้าที่มีขนาดเล็ก เช่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รวมไปถึงสินค้าที่มีราคาแพง เช่น กลุ่มอุตสาหกรรมยา อุปกรณ์การแพทย์ เครื่องสำอาง และอัญมณี เป็นต้น การ ใช้งาน บาโคต GS1 DataBar นอกจากจะมีการใช้กับสินค้าปลีกแล้ว สามารถใช้กับสินค้าส่ง ณ จุดกระจายสินค้าได้อีกด้วย เนื่องจากโครงสร้างของ GS1 DataBar นั้นรองรับระบบ GTIN-14 ที่สามารถรวมอยู่ในสัญลักษณ์ บาร์โค้ด GS1 DataBar จึงเป็นไปได้ว่าจะมีการใช้งาน DataBar เพื่อการกระจายสินค้าในอนาคต โดยจะต้องใช้คู่กับ เครื่องอ่านรหัสแท่ง หรือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด

 

 

 คณะกรรมการ GS1 Global ได้กำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นวันเริ่มต้นการใช้งาน GS1 DataBar อย่างเป็นทางการทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำ GS1 DataBar มาใช้ ณ จุด POS (Point-of-Sale) บ้างแล้ว โดยกำหนดให้ POS ทุกๆ จุดมีความพร้อมในการรองรับ GS1 DataBar ทั้งในส่วนของข้อมูลทางเทคนิค ขั้นตอนการระบุการใช้งาน Application Identifiers (AIs) และเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนระบบการค้าปลีกทั้งหมด

 
 
ประโยชน์ของ GS1 DataBar ที่มีต่อธุรกิจ

1. สามารถระบุความแตกต่างของสินค้าได้เป็นรายชิ้น

2. เพิ่มความแม่นยำในการบ่งชี้ตัวสินค้าที่มีปริมาณน้ำหนักที่ไม่แน่นอน

3. ลดกระบวนการควบคุมการทำงาน

4. เพิ่มความสามารถในการสืบย้อนกลับ

5. เพิ่มประสิทธิภาพในการเติมเต็มสินค้าในคลังสินค้า

6. ช่วยในการจัดการข้อมูลให้สะดวกขึ้น

7. ช่วยจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผู้จำหน่าย หรือวันที่หมดอายุ

8. ช่วยจัดการข้อมูลในส่วนของน้ำหนักสินค้า

9. เพิ่มความสามารถในการสแกนที่ใช้ร่วมกับสินค้าที่มีขนาดเล็ก

10. ความสามารถในการระงับการขายสินค้าที่หมดอายุ และการเรียกคืนสินค้า

11. เพิ่มความพอใจของลูกค้าที่สามารถสืบย้อนกลับข้อมูลของสินค้าได้ด้วยตนเอง

 

ตัวอย่างสัญลักษณ์ GS1 DataBar ในรูปแบบต่างๆ

ขอรหัสบาร์โค้ด databar

 

1. GS1 DataBar Stacked Omnidirectional เป็น รหัสแท่ง (บาร์โค้ด) ที่เหมาะสำหรับการระบุสินค้าอาหารสด และสินค้าที่มีขนาดเล็ก สามารถบันทึกข้อมูล

เลขหมาย GTIN เท่านั้น ซึ่งจำเป็นที่จะต้อง ขอบาร์โค้ด จากทางสถาบันฯ

2. GS1 DataBar Omnidirectional เป็น รหัสแท่งไทย (บาร์โค้ด) ที่เหมาะสำหรับการระบุสินค้าที่มีขนาดเล็ก สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย GTIN เท่านั้นซึ่งจำเป็นที่จะต้อง ขอบาร์โค้ด จากทางสถาบันฯ

3. GS1 DataBar Expanded เป็น รหัสแท่งไทย (บาร์โค้ด) ที่เหมาะสำหรับการระบุสินค้าที่มีปริมาตรน้ำหนักที่ไม่แน่นอน สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย  GTIN และรายละเอียดที่จำเป็นเพิ่มเติมได้ ซึ่งจำเป็นที่จะต้อง ขอรหัสบาร์โค้ด จากทางสถาบันฯ

4. GS1 DataBar Expanded Stacked เป็น font barcode (บาร์โค้ด) ที่เหมาะสำหรับการระบุสินค้าที่มีปริมาตรน้ำหนักที่ไม่แน่นอน สามารถบันทึกข้อมูลเลขหมาย GTIN และรายละเอียดที่จำเป็นเพิ่มเติมได้ ซึ่งจำเป็นที่จะต้อง ขอรหัสบาร์โค้ด จากทางสถาบันฯ

 

ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ gs1thailand.org/main/gs1standardsystem.php

 

สอบถามเพิ่มเติมติดต่อ Tel : 02-5182344 Fax : 02-5182343

Email : pandp@stickerbarcode.com

 

เว็ปไซต์ที่น่าสนใจ

www.สติ๊กเกอร์บาร์โค้ด.net 

www.ฉลากสินค้า.com     

www.เครื่องทำบัตรพนักงาน.com

................................................................................................................................................................................................................................................

 เครื่องพิมพ์ฉลาก TSC TTP 246M PLUSbarcode printer TSC TA200 เครื่องพิมพ์ป้ายราคา TSC TTP 247เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด TSC TTP ME 240Printer barcode TSC TTP 384M PLUSเครื่องพิมพ์สติ๊กเกอร์ TSC TTP 245Cbarcode printer TSC TDP 225Wเครื่องตัดกระดาษ Care Label Cutter  เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

เครื่องอ่านบาร์โค้ดเครื่องสแกนเนอร์ลิ้นชักเก็บเงินบาร์โค้ดเครื่องสแกนบาร์โค้ดเครื่องยิงบาร์โค้ดบาโค้ดเครื่องอ่านบาร์โค้ด ไร้สายเครื่อง อ่าน บาร์ โค้ด ราคา ถูก

 

barcode printingbarcode ribbonribbon zebrawax ribbon

ไฟล์เอกสารแนบ : article_doc_110.pdf